หน่วยที่ 4
จิตวิทยาการเรียนการสอน
ความหมายของจิตวิทยา
จิตวิทยา หรือ Psychology มาจากรากศัพท์ภาษากรีก 2 คำ คือ Psyche หมายถึงวิญญาณ (Soul) กับ (Logos) หมายถึง วิทยาการหรือการศึกษา (Study) ดังนั้น หากให้ความหมายตาม)นิยามดั้งเดิม จิตวิทยาจึงหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับจิตหรือวิญญาณ (
Study of mind หรือ Study of soulต่อมา มีการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในเชิงวิทยาศาสตร์กันมากขึ้น
โดยมุ่งศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการกระทำ หรือกระบวนการคิด พร้อมๆ
กับการศึกษาเรื่องสติปัญญา ความคิด ความเข้าใจ การใช้เหตุผล รวมทั้งเรื่องของตน (Self) และเรื่องราวของบุคคลที่แสดงพฤติกรรมที่มุ่งเน้นเรื่องการปรับตัวของบุคคล
โดยนำการสังเกตและการทดลองมาเกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมความรู้มาใช้ในการศึกษาอย่างเป็นระบบ
เป็นการศึกษาที่เน้นเฉพาะพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์เท่านั้น
มีผู้ให้คำจำกัดความจิตวิทยาที่น่าสนใจ ดังนี้
- John B. Watson กล่าวว่า จิตวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม
- Crow & Crow เห็นจิตวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
- Good คิดว่า จิตวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการปรับตัวของอินทรีย์หรือสิ่งมีชีวิตเพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
- Hilgard กล่าวว่า จิตวิทยา หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ
- William Jamesให้ทัศนะว่าจิตวิทยาเป็นวิชาที่ว่าด้วยกิริยาอาการมนุษย์
กล่าวโดยสรุป คือ จิตวิทยาได้เปลี่ยนเป็นศาสตร์ที่ หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม (Behavior)ของมนุษย์ (Psychology is the science of behavior)
ความสำคัญของจิตวิทยา
มีผู้ให้คำจำกัดความจิตวิทยาที่น่าสนใจ ดังนี้
- John B. Watson กล่าวว่า จิตวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม
- Crow & Crow เห็นจิตวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
- Good คิดว่า จิตวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการปรับตัวของอินทรีย์หรือสิ่งมีชีวิตเพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
- Hilgard กล่าวว่า จิตวิทยา หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ
- William Jamesให้ทัศนะว่าจิตวิทยาเป็นวิชาที่ว่าด้วยกิริยาอาการมนุษย์
กล่าวโดยสรุป คือ จิตวิทยาได้เปลี่ยนเป็นศาสตร์ที่ หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม (Behavior)ของมนุษย์ (Psychology is the science of behavior)
ความสำคัญของจิตวิทยา
จิตวิทยามีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตอย่างกว้างขวาง
ผู้ศึกษาจิตวิทยาสามารถได้รับประโยชน์ดังต่อไปนี้
1.ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ เช่น ความต้องการ การแก้ปัญหา การปรับตัว อารมณ์และความรู่สึกในสถานการณ์ต่างๆ
2.ช่วยในการแก้ปัญหาทางจิต รู้จักวิธีรักษาสุขภาพจิตได้ดี สามารถเอาชนะปมด้อยต่างๆ รู้วิธีแก้ปัญหาและปรับตัวอย่างเหมาะสม ขจัดความขัดแย้งในใจได้และความวิตกกังวลได้
3.สามารถเข้าใจ ตัดสินใจ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลในสังคม
4.ช่วยในการวางแผนการใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม
1.ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ เช่น ความต้องการ การแก้ปัญหา การปรับตัว อารมณ์และความรู่สึกในสถานการณ์ต่างๆ
2.ช่วยในการแก้ปัญหาทางจิต รู้จักวิธีรักษาสุขภาพจิตได้ดี สามารถเอาชนะปมด้อยต่างๆ รู้วิธีแก้ปัญหาและปรับตัวอย่างเหมาะสม ขจัดความขัดแย้งในใจได้และความวิตกกังวลได้
3.สามารถเข้าใจ ตัดสินใจ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลในสังคม
4.ช่วยในการวางแผนการใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา
จิตวิทยาเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยกรีกและโดรมันโบราณที่พยายามค้นหาความหมายของจิต ซึ่งในระยะแรกจะคิดถึงหัวใจและสมอง ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งของความคิด ต่อมาในยุคศตวรรษที่ 19 การศึกษา จิตวิทยาแยกออกเป็น 2 แนวทาง คือแนวทางปรัชญาและแนววิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ ผู้นำแนวคิดทางปรัชญา คือจอห์น ล็อค (John Lock, 1632-1704) เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ ได้รับฉายาว่าเป็น บิดาแห่ง จิตวิทยาแผนใหม่ ซึ่งให้ความสนใจและศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของการคิดที่มีความสัมพันธ์กับจิต และความรู้ทั้งหมดของบุคคลเกิดจากการที่ประสาทสัมผัสปะทะกับโลกกายภาพ เขาเชื่อว่าจิตเปรียบเหมือนกระดาษที่ว่างเปล่า แต่เมื่อบุคคลมีประสบการณ์ที่ได้รับจากประสาทสัมผัสทำให้เกิดรอยขีดเขียน ดังนั้น สิ่งแวดล้อมจึงมีอิทธิพลต่อจิตมาก เขาอธิบายว่าจิตของมนุษย์เกิดจากการสะสมประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้เรียนรู้ และถูกเชื่อมโยงต่อกัน ต่อมาเมื่อวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้ามากขึ้น การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากขณะที่การอธิบายเรื่องจิตวิญญาณเป็นเรื่องยากไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน การศึกษาจิตวิทยาจึงถูกนำไปใช้ในการทดลอง การสังเกต การพิจารณาในเวลาต่อมา บุคคลที่เข้ามาศึกษาจิตวิทยาในเวลาต่อมานอกจาก John Lock แล้ว ดังนี้
Cassman ได้เขียนหนังสือชื่อ Aythropologica อธิบายเกี่ยวกับความรู้เรื่องจิตของมนุษย์ในปี 1590 ทำให้วิชา Psychology เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
Emest Hinrich Weber (1795-1878) ผู้ค้นพบพื้นฐานร่วมระหว่างความรู้สึกทางสรีระกับจิตวิทยาฟิสิกส์ เขาศึกษาเกี่ยวกับสัมผัสและความรู้สึกทางกล้ามเนื้อ ซึ่งถือว่าเป็นการเริ่มต้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยวิธีการหาความแตกต่างของการรับความรู้สึกของผู้ถูกทดลอง
Charles Darwins (1809-1882) ผู้ตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการในปี 1859 เขาเชื่อว่าต้นกำเนิดสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการมาจากสัตว์ชั้นต่ำ ทฤษฎีนี้ทำให้ความเชื่อว่าจิตหรือวิญญาณเป็นต้นกำเนิดชีวิตหายไป และเหตุนี้ทำให้เกิดจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาเปรียบเทียบ (Comparative Psychology) ขึ้น
Sir Francis Galton (1822-1911) ให้ความสนใจในเรื่องพันธุกรรมศาสตร์ ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นเหตุของความแตกต่างระหว่างบุคคล ถือเป็นผู้เริ่มจิตวิทยาการทดลองเป็นคนแรกในประเทศอังกฤษ ส่วนวิธีการศึกษาที่นำมาใช้คือการทำ Case Study รวมทั้งสร้างแบบทดสอบและใช้วิธีการทางสถิติตอย่างง่าย
William James (1832-1920) นักจิตวิทยาและนักสรีระวิทยาชาวเยอรมันเป็นผู้ทำให้วิชาจิตวิทยาแยกออกมาจากวิชาปรัชญาและได้รับการยอมรับว่าจิตวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ที่สมบูรณ์ จึงได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาเชิงวิทยาศาสตร์ หรือบิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง เขาเป็นผู้เริ่มตั้งห้องทดลองขึ้นเป็นครั้งแรกซึ่งได้เปิดห้องปฏิบัติการวิจัยทางจิตวิทยา Leopzig การศึกษาของ Wundt มุ่งค้นคว้าธรรมชาติของจิตสำนึก (Consciousness) ของบุคคล ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับความรู้สึกจากประสาทสัมผัส โดยเน้นที่จักษุสัมผัสและทดลองเกี่ยวกับความใส่ใจ จินตนาการ การคิดหาเหตุผล นับเป็นการเริ่มต้นศึกษาจิตวิทยาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
William James(1842-1901) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับจิตวิทยาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1890 ชื่อว่า Principle of Psychology ซึ่งเป็นตำราที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลาย เขาสนใจศึกษาจิตวิทยาทุกสาขาแล้วนำมาสังเคราะห์เป็นแนวคิดใหม่ ผลงานที่ปรากฏได้แก่ ทฤษฎีอารมณ์ การถ่ายเทการเรียนรู้ และแนวคิดเกี่ยวกับสัญชาติญาณ จิตสำนึกและจิตไร้สำนึก
G.Stanley Hall (1846-1939) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้ตั้งห้องปฏิบัติการตามแบบ Wundt ที่มหาวิทยาลัย John Hopkins เมื่อปี 1883 มุ่งเน้นศึกษาพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น เขาออกวารสารทางจิตวิทยาขึ้นเป็นฉบับแรกชื่อว่า American Johrnal of Psychology ในปี 1887
John B.Watson (1878-1958) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันเป็นอาจารย์สอนเป็นการสะท้อนให้เห็น
จิตของบุคคล เนื่องจากจิตเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นและไม่มีตัวตน ไม่สามารถสังเกตหรือใช่เครื่องมือวัดได้ ดังนั้น เมื่อต้องการศึกษาเรื่องจิตก็ควรศึกษาเรื่องของพฤติกรรม ด้วยเหตุนี้เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งจิตวิทยายุคใหม่
ขอบข่ายของจิตวิทยา
1.จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมทั่วไปของมนุษย์การรับรู้ การเรียนรู้ อารมณ์ ความรู้สึก สติปัญญา ประสาทสัมผัส เป็นต้น จิตวิทยาสาขาพื้นฐานของการเรียนจิตฺวิทยาสาจาอื่นต่อไป
2.จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับลำดับขั้นตอนของพัฒนาการเจริญเติบโตในแต่ละวัยต่างๆ ของมนุษย์ ตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงวัยชรา
3.จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทความสัมพันธ์และพฤติกรรมของบุคคลในกลุ่มสังคม ปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลที่อยู่รวมกัน เจตคติและความคิดเห็นของกลุ่มชน
4.จิตวิทยาการทดลอง (ExperimentalPsychology) ศึกษาเกี่ยวกับระบบประสาทและพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ในห้องทดลอง
5.จิตวิทยาการแนะแนว(Guidance Psychology) นักจิตวิทยาแนะแนวทำหน้าที่ให้คำแนะนำ ให้แนวทาง และให้คำปรึกษาสถานศึกษากับนักเรียน นักศึกษา เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้มีปัญหาด้านการปรับตัว ปัญหาการเรียน และปัญหาส่วนตัวอื่นๆ
6.จิตวิทยาคลีนิค (Clinical Psychology) นักจิตวิทยาคลินิกทำงานในโรงพยาบาลที่มีคนไข้โรคจิต สถาบันเลี้ยงเด็กปัญญาอ่อน หรืออาจเปิดเป็นคลินิกส่วนตัวก็ได้
7.จิตวิทยาประยุกต์ (Applied Psychology) เป็นการนำหลักการทางจิตวิทยามาใช้ประโยชน์ในสาขาวิชาชีพต่างๆ เช่น ธุรกิจอุตสาหกรรม การแพทย์ การทหาร เป็นต้นT
8.จิตวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการทำงาน ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการทำงาน แรรงจูงใจในการทำงาน การคัดเลือกคนงาน การประเมินผลงาน
9.จิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวกับงานด้านการเรียนการสอน การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นวิชาที่สำคัญสำหรับครูและนักการศึกษา
10.จิตวิทยาการทดลอง (ExperimentalPsychology) มีการศึกษาโดยการทดลองกับมนุษย์และสัตว์ทั้งในสภาพแวดล้อมทั่วไปและในห้องปฏิบัติการ วิธีการศึกษาส่วนใหญ่ใช้การสังเกต
ความหมายของจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยกรีกและโดรมันโบราณที่พยายามค้นหาความหมายของจิต ซึ่งในระยะแรกจะคิดถึงหัวใจและสมอง ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งของความคิด ต่อมาในยุคศตวรรษที่ 19 การศึกษา จิตวิทยาแยกออกเป็น 2 แนวทาง คือแนวทางปรัชญาและแนววิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ ผู้นำแนวคิดทางปรัชญา คือจอห์น ล็อค (John Lock, 1632-1704) เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ ได้รับฉายาว่าเป็น บิดาแห่ง จิตวิทยาแผนใหม่ ซึ่งให้ความสนใจและศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของการคิดที่มีความสัมพันธ์กับจิต และความรู้ทั้งหมดของบุคคลเกิดจากการที่ประสาทสัมผัสปะทะกับโลกกายภาพ เขาเชื่อว่าจิตเปรียบเหมือนกระดาษที่ว่างเปล่า แต่เมื่อบุคคลมีประสบการณ์ที่ได้รับจากประสาทสัมผัสทำให้เกิดรอยขีดเขียน ดังนั้น สิ่งแวดล้อมจึงมีอิทธิพลต่อจิตมาก เขาอธิบายว่าจิตของมนุษย์เกิดจากการสะสมประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้เรียนรู้ และถูกเชื่อมโยงต่อกัน ต่อมาเมื่อวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้ามากขึ้น การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากขณะที่การอธิบายเรื่องจิตวิญญาณเป็นเรื่องยากไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน การศึกษาจิตวิทยาจึงถูกนำไปใช้ในการทดลอง การสังเกต การพิจารณาในเวลาต่อมา บุคคลที่เข้ามาศึกษาจิตวิทยาในเวลาต่อมานอกจาก John Lock แล้ว ดังนี้
Cassman ได้เขียนหนังสือชื่อ Aythropologica อธิบายเกี่ยวกับความรู้เรื่องจิตของมนุษย์ในปี 1590 ทำให้วิชา Psychology เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
Emest Hinrich Weber (1795-1878) ผู้ค้นพบพื้นฐานร่วมระหว่างความรู้สึกทางสรีระกับจิตวิทยาฟิสิกส์ เขาศึกษาเกี่ยวกับสัมผัสและความรู้สึกทางกล้ามเนื้อ ซึ่งถือว่าเป็นการเริ่มต้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยวิธีการหาความแตกต่างของการรับความรู้สึกของผู้ถูกทดลอง
Charles Darwins (1809-1882) ผู้ตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการในปี 1859 เขาเชื่อว่าต้นกำเนิดสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการมาจากสัตว์ชั้นต่ำ ทฤษฎีนี้ทำให้ความเชื่อว่าจิตหรือวิญญาณเป็นต้นกำเนิดชีวิตหายไป และเหตุนี้ทำให้เกิดจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาเปรียบเทียบ (Comparative Psychology) ขึ้น
Sir Francis Galton (1822-1911) ให้ความสนใจในเรื่องพันธุกรรมศาสตร์ ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นเหตุของความแตกต่างระหว่างบุคคล ถือเป็นผู้เริ่มจิตวิทยาการทดลองเป็นคนแรกในประเทศอังกฤษ ส่วนวิธีการศึกษาที่นำมาใช้คือการทำ Case Study รวมทั้งสร้างแบบทดสอบและใช้วิธีการทางสถิติตอย่างง่าย
William James (1832-1920) นักจิตวิทยาและนักสรีระวิทยาชาวเยอรมันเป็นผู้ทำให้วิชาจิตวิทยาแยกออกมาจากวิชาปรัชญาและได้รับการยอมรับว่าจิตวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ที่สมบูรณ์ จึงได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาเชิงวิทยาศาสตร์ หรือบิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง เขาเป็นผู้เริ่มตั้งห้องทดลองขึ้นเป็นครั้งแรกซึ่งได้เปิดห้องปฏิบัติการวิจัยทางจิตวิทยา Leopzig การศึกษาของ Wundt มุ่งค้นคว้าธรรมชาติของจิตสำนึก (Consciousness) ของบุคคล ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับความรู้สึกจากประสาทสัมผัส โดยเน้นที่จักษุสัมผัสและทดลองเกี่ยวกับความใส่ใจ จินตนาการ การคิดหาเหตุผล นับเป็นการเริ่มต้นศึกษาจิตวิทยาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
William James(1842-1901) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับจิตวิทยาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1890 ชื่อว่า Principle of Psychology ซึ่งเป็นตำราที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลาย เขาสนใจศึกษาจิตวิทยาทุกสาขาแล้วนำมาสังเคราะห์เป็นแนวคิดใหม่ ผลงานที่ปรากฏได้แก่ ทฤษฎีอารมณ์ การถ่ายเทการเรียนรู้ และแนวคิดเกี่ยวกับสัญชาติญาณ จิตสำนึกและจิตไร้สำนึก
G.Stanley Hall (1846-1939) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้ตั้งห้องปฏิบัติการตามแบบ Wundt ที่มหาวิทยาลัย John Hopkins เมื่อปี 1883 มุ่งเน้นศึกษาพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น เขาออกวารสารทางจิตวิทยาขึ้นเป็นฉบับแรกชื่อว่า American Johrnal of Psychology ในปี 1887
John B.Watson (1878-1958) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันเป็นอาจารย์สอนเป็นการสะท้อนให้เห็น
จิตของบุคคล เนื่องจากจิตเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นและไม่มีตัวตน ไม่สามารถสังเกตหรือใช่เครื่องมือวัดได้ ดังนั้น เมื่อต้องการศึกษาเรื่องจิตก็ควรศึกษาเรื่องของพฤติกรรม ด้วยเหตุนี้เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งจิตวิทยายุคใหม่
ขอบข่ายของจิตวิทยา
1.จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมทั่วไปของมนุษย์การรับรู้ การเรียนรู้ อารมณ์ ความรู้สึก สติปัญญา ประสาทสัมผัส เป็นต้น จิตวิทยาสาขาพื้นฐานของการเรียนจิตฺวิทยาสาจาอื่นต่อไป
2.จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับลำดับขั้นตอนของพัฒนาการเจริญเติบโตในแต่ละวัยต่างๆ ของมนุษย์ ตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงวัยชรา
3.จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทความสัมพันธ์และพฤติกรรมของบุคคลในกลุ่มสังคม ปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลที่อยู่รวมกัน เจตคติและความคิดเห็นของกลุ่มชน
4.จิตวิทยาการทดลอง (ExperimentalPsychology) ศึกษาเกี่ยวกับระบบประสาทและพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ในห้องทดลอง
5.จิตวิทยาการแนะแนว(Guidance Psychology) นักจิตวิทยาแนะแนวทำหน้าที่ให้คำแนะนำ ให้แนวทาง และให้คำปรึกษาสถานศึกษากับนักเรียน นักศึกษา เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้มีปัญหาด้านการปรับตัว ปัญหาการเรียน และปัญหาส่วนตัวอื่นๆ
6.จิตวิทยาคลีนิค (Clinical Psychology) นักจิตวิทยาคลินิกทำงานในโรงพยาบาลที่มีคนไข้โรคจิต สถาบันเลี้ยงเด็กปัญญาอ่อน หรืออาจเปิดเป็นคลินิกส่วนตัวก็ได้
7.จิตวิทยาประยุกต์ (Applied Psychology) เป็นการนำหลักการทางจิตวิทยามาใช้ประโยชน์ในสาขาวิชาชีพต่างๆ เช่น ธุรกิจอุตสาหกรรม การแพทย์ การทหาร เป็นต้นT
8.จิตวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการทำงาน ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการทำงาน แรรงจูงใจในการทำงาน การคัดเลือกคนงาน การประเมินผลงาน
9.จิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวกับงานด้านการเรียนการสอน การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นวิชาที่สำคัญสำหรับครูและนักการศึกษา
10.จิตวิทยาการทดลอง (ExperimentalPsychology) มีการศึกษาโดยการทดลองกับมนุษย์และสัตว์ทั้งในสภาพแวดล้อมทั่วไปและในห้องปฏิบัติการ วิธีการศึกษาส่วนใหญ่ใช้การสังเกต
ความหมายของจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษา หมายถึง
วิชาที่เกี่ยวกับปัญหาทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
ตลอดจนศึกษาธรรมชาติและกระบวนการศึกษาเรียนรู้เพื่อนำหลักเกณฑ์ทางจิตวิทยาที่ได้รับจากการศึกษามาใช้ในการเรียนการสอนให้ได้ผลดี
มีประสิทธิภาพ ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักเรียนในสภาพของการจัดการเรียนการสอน
โยมีเนื้อหาและระเบียบวิธีการส่วนของเนื้อหาจะเกี่ยวข้องกับธรรมชาติของการเรียนรู้และพัฒนาการ
สภาวะของเด็กและสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
และประมวลนำเนื้อหามาหาวิธีการจัดรูปแบบที่ทำให้ครูและผู้เกี่ยวข้องกับเด็กสามารถนำไปใช้ได้
ประโยชน์ของจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษามีประโยชน์สำหรับบุคคลทุกวัยไม่เฉพาะครูผู้สอน เช่น ผู้บริหารการศึกษา นักแนะแนว ศึกษานิเทศก์ หัวหน้าหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งบิดา มารดา ผู้ปกครอง ในด้านต่างๆ ต่อไปนี้
1.ช่วยให้ครูเข้าใจธรรมชาติ ความเจริญเติบโตของเด็กและสามารถนำความรู้ที่ได้มาจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ความต้องการ ความสนใจของเด็กแต่ละวัย
2.ช่วยให้ครูสามารถเตรียมบทเรียน วิธีสอน จัดกิจกรรม ตลอดจนใช้วิธีการวัดและประเมินผลการศึกษาได้สอดคล้องกับวัย ซึ่งเป็นการช่วยให้จัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
3.ช่วยให้ครูสามารถจัดกิจกรรมได้อย่างสนุกสนานด้วยบรรยากาศของความเข้าใจ การให้ความร่วมมือ และให้การยอมรับซึ่งกันและกัน
4.ช่วยสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู ผู้ปกครองและเด็ก ทำให้ปกครองเด็กง่ายขึ้นและสามารถทำงานกับเด็กได้อย่างราบรื่น
5.ช่วยให้ครูป้องกันและหาทางแก้ไข ตลอดจนพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กได้อย่างเหมาะสม
6.ช่วยให้ผู้บริหารการศึกษาวางแนวทางการศึกษา จัดหลักสูตร อุปกรณ์การสอนและการบริหารงานได้เหมาะสม
7.ช่วยให้ผู้เรียนเข้ากับสังคมได้ดี ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี
จิตวิทยาการเรียนการสอน
จิตวิทยาการศึกษามีประโยชน์สำหรับบุคคลทุกวัยไม่เฉพาะครูผู้สอน เช่น ผู้บริหารการศึกษา นักแนะแนว ศึกษานิเทศก์ หัวหน้าหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งบิดา มารดา ผู้ปกครอง ในด้านต่างๆ ต่อไปนี้
1.ช่วยให้ครูเข้าใจธรรมชาติ ความเจริญเติบโตของเด็กและสามารถนำความรู้ที่ได้มาจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ความต้องการ ความสนใจของเด็กแต่ละวัย
2.ช่วยให้ครูสามารถเตรียมบทเรียน วิธีสอน จัดกิจกรรม ตลอดจนใช้วิธีการวัดและประเมินผลการศึกษาได้สอดคล้องกับวัย ซึ่งเป็นการช่วยให้จัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
3.ช่วยให้ครูสามารถจัดกิจกรรมได้อย่างสนุกสนานด้วยบรรยากาศของความเข้าใจ การให้ความร่วมมือ และให้การยอมรับซึ่งกันและกัน
4.ช่วยสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู ผู้ปกครองและเด็ก ทำให้ปกครองเด็กง่ายขึ้นและสามารถทำงานกับเด็กได้อย่างราบรื่น
5.ช่วยให้ครูป้องกันและหาทางแก้ไข ตลอดจนพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กได้อย่างเหมาะสม
6.ช่วยให้ผู้บริหารการศึกษาวางแนวทางการศึกษา จัดหลักสูตร อุปกรณ์การสอนและการบริหารงานได้เหมาะสม
7.ช่วยให้ผู้เรียนเข้ากับสังคมได้ดี ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี
จิตวิทยาการเรียนการสอน
จิตวิทยาเป็น การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร
อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว
และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
จากความหมายดังกล่าว พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดจากการ เรียนรู้จะต้องมีลักษณะสำคัญ ดังนี้
1. พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้น หากเป็นการ เปลี่ยนแปลงชั่วคราวก็ยังไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้ เช่น นักศึกษาพยายามเรียนรู้การออกเสียงภาษาต่างประเทศ บางคำ หากนักศึกษาออกเสียงได้ถูกต้องเพียงครั้งหนึ่ง แต่ไม่สามารถออกเสียงซ้ำให้ถูกต้องได้อีก ก็ไม่นับว่า นักศึกษาเกิดการเรียนรู้การออกเสียงภาษาต่างประเทศ ดังนั้นจะถือว่านักศึกษาเกิดการเรียนรู้ก็ต่อเมื่อออก เสียงคำ ดังกล่าวได้ถูกต้องหลายครั้ง ซึ่งก็คือเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรนั่นเอง
นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ เช่น
- คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง"ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ "
-คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา “
-พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
"การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา "
จากความหมายดังกล่าว พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดจากการ เรียนรู้จะต้องมีลักษณะสำคัญ ดังนี้
1. พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้น หากเป็นการ เปลี่ยนแปลงชั่วคราวก็ยังไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้ เช่น นักศึกษาพยายามเรียนรู้การออกเสียงภาษาต่างประเทศ บางคำ หากนักศึกษาออกเสียงได้ถูกต้องเพียงครั้งหนึ่ง แต่ไม่สามารถออกเสียงซ้ำให้ถูกต้องได้อีก ก็ไม่นับว่า นักศึกษาเกิดการเรียนรู้การออกเสียงภาษาต่างประเทศ ดังนั้นจะถือว่านักศึกษาเกิดการเรียนรู้ก็ต่อเมื่อออก เสียงคำ ดังกล่าวได้ถูกต้องหลายครั้ง ซึ่งก็คือเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรนั่นเอง
นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ เช่น
- คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง"ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ "
-คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา “
-พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
"การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา "
พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้
คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ
อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
ประดินันท์ อุปรมัย (2540, ชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา(มนุษย์กับการเรียนรู้)
: นนทบุรี, พิมพ์ครั้งที่ 15, หน้า121) การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์
โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเหตุทำให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม
ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหมายถึงทั้งประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม
ประสบการณ์ทางตรง คือ ประสบการณ์ที่บุคคลได้พบหรือสัมผัสด้วยตนเอง
เช่น เด็กเล็กๆ ที่ยังไม่เคยรู้จักหรือเรียนรู้คำว่า “ร้อน” เวลาที่คลานเข้าไปใกล้กาน้ำร้อน แล้วผู้ใหญ่บอกว่าร้อน
และห้ามคลานเข้าไปหา เด็กย่อมไม่เข้าใจและคงคลานเข้าไปหาอยู่อีก
จนกว่าจะได้ใช้มือหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายไปสัมผัสกาน้ำร้อน
จึงจะรู้ว่ากาน้ำที่ว่าร้อนนั้นเป็นอย่างไร ต่อไป
เมื่อเขาเห็นกาน้ำอีกแล้วผู้ใหญ่บอกว่ากาน้ำนั้นร้อนเขาจะไม่คลานเข้าไปจับกาน้ำนั้น
เพราะเกิดการเรียนรู้คำว่าร้อนที่ผู้ใหญ่บอกแล้ว เช่นนี้กล่าวได้ว่า ประสบการณ์
ตรงมีผลทำให้เกิดการเรียนรู้เพราะมีการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม
ในการมีประสบการณ์ตรงบางอย่างอาจทำให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แต่ไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้ ได้แก่
พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤทธิ์ยา
หรือสิ่งเสพติดบางอย่าง
พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเจ็บป่วยทางกายหรือทางใจ
พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเหนื่อยล้าของร่างกาย
พฤติกรรมที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนต่างๆ
ความหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้
“จิตวิทยา”เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต
โดยศึกษาว่าสิ่งเหล่านี้ได้อิทธิพลอย่างไรจากสภาวะทางร่างกาย
สภาพจิตใจและสิ่งแวดล้อมภายนอก
จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos แปลว่า การศึกษา
ตามรูปศัพท์ จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป
ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ
จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์
การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร
อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว
และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos แปลว่า การศึกษา
ตามรูปศัพท์ จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป
ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ
จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์
การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
แนวทางในการศึกษา
นักเรียนศึกษาและสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบในห้องทดลอง
นำผลการทดลองไปใช้ในสถานการณ์จริงในห้องเรียน
ค้นหาวิธีการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
ศึกษาเกี่ยวกับการวัดและการประเมินทางการศึกษา
ศึกษาพัฒนาการด้านต่างๆของ
ความสำคัญของจิตวิทยาการเรียนการสอน
- ทำให้รู้จักลักษณะนิสัยของผู้เรียน
- ทำให้เข้าใจพัฒนาการบุคลิกภาพบางอย่างของผู้เรียน
- ทำให้ครูเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
- ทำให้ครูทราบว่ามีองค์ประกอบใดบ้างที่มีผลกระทบต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนเช่น
แรงจูงใจ ความคาดหวัง เชาวน์ปัญญา ทัศนคติ ฯลฯ
- ทำให้ครูทราบทฤษฎี หลักการเรียนรู้ รวมทั้งหลักการสอนและวิธีการสอน
- ทำให้ครูวางแผนการสอนได้อย่างเหมาะสม
- ทำให้ครูจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนได้สอดคล้องกับพัฒนาการ
รวมทั้งสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่เอื้อต่อการปกครองชั้นเรียน (สุวรี, 2535)
วัตถุประสงค์ของจิตวิทยาการศึกษา
เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ของคนทั้งเด็กและผู้ใหญ่และจัดรวบรวมอย่างมีระบบเข้าเป็นทฤษฎีหลักการและข้อมูลต่างๆเกี่ยวข้องลักษณะนี้เป็นศาสตร์ทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ (behavioral science)
2. เป็นการนำความรู้เกี่ยวกับการเรียนและผู้เรียนมาจัดรูปแบบเพื่อให้ผู้สอน ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้นำทฤษฎีและหลักการไปใช้ผู้สอนซึ่งมีหลักทางจิตวิทยาดี ย่อมจะสามารถสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีกว่าเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ผู้สอนเข้าใจ
2. เป็นการนำความรู้เกี่ยวกับการเรียนและผู้เรียนมาจัดรูปแบบเพื่อให้ผู้สอน ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้นำทฤษฎีและหลักการไปใช้ผู้สอนซึ่งมีหลักทางจิตวิทยาดี ย่อมจะสามารถสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีกว่าเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ผู้สอนเข้าใจ
ประโยชน์ของการศึกษาจิตวิทยา
๑. เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ในการประกอบธุรกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะในงานราชการ การทำหน้าที่จำหน้าและชื่อคนในบังคับบัญชาและลูกค้า การปกครองให้คนร่วมมือกลมเกลียว วิธีสอบสัมภาษณ์เลือกคนเข้าทำงานและการใช้คนให้เหมาะสมกับชนิดของงาน วิธีเอาใจลูกค้าด้วยประการต่าง ๆ ฯลฯ
๒. มีความรู้เกี่ยวกับการเล่นของเด็กและการกีฬา จิตวิทยาวิเคราะห์ให้ทราบว่า การเล่นคืออะไร และบอกให้ทราบว่าเด็กคนไหนมีความเจริญทางจิตแค่ไหน ควรเล่นอะไร จึงจะได้ประโยชน์ การให้กำลังใจในการเล่นกีฬาเป็นส่วนที่ช่วยให้คนเล่นกีฬาชนะเท่า
ๆ กับกำลังกาย ความรู้ในทางจิตวิทยาจะทำให้ครูพละศึกษาและหัวหน้าชุดกีฬาประเภทต่าง
ๆ สามารถปลุกกำลังใจของผู้เล่นได้ถนัดมือขึ้น จิตวิทยาของคนดูกีฬา ดูละคร หรือฟังปาฐกถา ก็เป็นสิ่งที่ผู้เล่นกีฬา ผู้แสดงละคร หรือแสดงปาฐกถาควรรู้ไว้
๓. จิตวิทยาช่วยให้การดำเนินชีวิตในสังคมเป็นไปโดยสะดวกและราบรื่น ตามหลักจิตวิทยามีสิ่งสำคัญอยู่ ๓
ประการในเรื่องการปรับปรุงตัวเองให้เหมาะกับสังคม (ก) ความรู้ในเรื่องมรรยาทและเรื่องจารีตประเพณี (ข) ความรู้สำหรับทำตัวให้สนใจผู้อื่น (ค) นิสัยที่จะคอยตรวจพิจารณา และตีความพฤติกรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ ของผู้อื่น เพื่อให้ทราบว่าเขามีท่าทีความรู้สึก (ATTITUDE) และอารมณ์อย่างไร
๔. การรักษาพยาบาลต้องอาศัยจิตวิทยา เพราะกำลังใจของคนไข้เป็นส่วนที่แพทย์และนางพยาบาลต้องนึกถึงไม่น้อยว่าการรักษาพยาบาลด้วยยา ทั้งแพทย์และนางพยาบาลต้องมีอัตลักษณ์ (CHARACTER) ที่อดทนต่อการจู้จี้ของคนไข้ได้โดยไม่ให้มีเรื่องสะเทือนจิตใจของตัวเอง และต้องมีกุศโลบายร้อยแปดเพื่อเอาใจคนไข้โดยมิให้เสียถึงหลักการรักษาพยาบาล
๕. จิตวิทยาช่วยเกี่ยวกับกฏหมายในเรื่องการสืบพยาน การสืบพยานเป็นเรื่องของจิตวิทยาเท่า ๆ กับเป็นปัญหาทางกฏหมาย ศาลห้ามทนายความไม่ให้ถามนำ เพราะพยานมักจะรับการเสนอแนะจนทำให้ความจำเลอะเลือน และไม่สามารถให้การได้ตามที่พยานรู้เห็นจริง ๆ บางคนเอาสิ่งที่ตัวเห็นจริง ๆ ปนกับสิ่งที่ตัวนึกว่าเห็นโดยไม่มีเจตนาจะพูดเท็จ เด็ก ๆ มักเป็นอย่างนี้ เพราะฉะนั้น ศาลจึงไม่ถือว่าคำให้การสรุป
สรุปได้ว่า บรูนเนอร์ กล่าวว่า
คนทุกคนมีพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจ หรือ การรู้คิดโดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า Acting, Imagine และ Symbolizing ซึ่งอยู่ในขั้นพัฒนาการทางปัญญาคือ Enactive, Iconic และ Symbolic representation ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดชีวิตมิใช่เกิดขึ้นช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิตเท่านั้น
บรูเนอร์เห็นด้วยกับ พีอาเจต์ ที่ว่า
มนุษย์เรามีโครงสร้างทางสติปัญญา (Cognitive structure) มาตั้งแต่เกิดในวัยเด็กจะมีโครงสร้างทางสติปัญญาที่ไม่ซับซ้อน
เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะทำให้โครงสร้างทางสติปัญญาขยาย
และซับซ้อนเพิ่มขึ้น หน้าที่ของครูคือ
การจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่ช่วยเอื้อต่อการขยายโครงสร้างทางสติปัญญาของผู้เรียน
ความหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos แปลว่า การศึกษา
ตามรูปศัพท์ จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป
ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ
จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์
การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
ความสำคัญของจิตวิทยาการเรียนการสอน
- ทำให้รู้จักลักษณะนิสัยของผู้เรียน
- ทำให้เข้าใจพัฒนาการบุคลิกภาพบางอย่างของผู้เรียน
- ทำให้ครูเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
- ทำให้ครูทราบว่ามีองค์ประกอบใดบ้างที่มีผลกระทบต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนเช่น
แรงจูงใจ ความคาดหวัง เชาวน์ปัญญา ทัศนคติ ฯลฯ
หลักการสำคัญ
1. มีความรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอน
2. มีความสามารถในการประยุกต์หลักการจิตวิทยาเพื่อการเรียนการสอน
3. มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่
4. มีเจตคติที่ดีต่อผู้เรียน
ประโชยน์ของจิตวิทยา
๑เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
๒. มีความรู้เกี่ยวกับการเล่นของเด็กและการกีฬา
๓. จิตวิทยาช่วยให้การดำเนินชีวิตในสังคมเป็นไปโดยสะดวกและราบรื่น
๔. การรักษาพยาบาลต้องอาศัยจิตวิทยา
๕. จิตวิทยาช่วยเกี่ยวกับกฏหมายในเรื่องการสืบพยาน
๖. จิตวิทยาเป็นหัวใจของการโฆษณาประชาสัมพันธ์
แนวคิด
๑. จิตวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ มีบทบาทต่อการจัดการเรียนการสอน
๒. การจูงใจส่งผลให้เกิดความพร้อมในการเรียนมากขึ้น
๓. บุคคลจะปรับตัวเมื่อเกิดความไม่สบายใจ
วิตกกังวล คับข้องใจ หรือเครียด แต่ละคนมี
กลวิธานในการปรับตัวต่างๆ กันไป
๕. พฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลบ่งบอกถึงความสมบูรณ์ทางจิตใจได้
๖. บุคคลจะมีความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งต่างๆ
กันไป การที่ครูสามารถสร้างและพัฒนาทัศนคติที่ดีต่อการเรียนของนักเรียนจะส่งผลดีต่อการเรียนการสอน
วิเคราะห์
จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos แปลว่า การศึกษา
ตามรูปศัพท์ จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป
ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ
จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์
การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร
อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว
และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos แปลว่า การศึกษา
ตามรูปศัพท์ จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป
ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ
จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์
จิตวิทยาการศึกษา ( Education Psychology) วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์การเรียนการสอน โดยเน้นพฤติกรรมการเรียนรู้
การพัฒนาความสามารถของผูเรียน ตลอดจนวิธีการนำความรู้ ความเข้าใจ
ที่เกิดขึ้นประยุกต์ใช้ในการสอนให้ได้ผลดี
จิตวิทยาการศึกษา ความมุ่งหมายและประโยชน์ มีดังนี้
จุดมุ่งหมาย
จิตวิทยาการศึกษาเน้นในเรื่องของการเรียนรู้
และการนำไปประยุกต์ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
เพื่อให้ตรงกับเป้าหมายการเรียนรู้อย่างแท้จริง จุดมุ่งหมายนี้ต้องครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านความคิด ด้านอารมณ์ และด้านการปฏิบัติ
ด้านการเรียนการสอน
ช่วยให้ครูเข้าใจเด็ก สามารถจัดการสอนให้สอดคล้องกับความ ต้องการ
สนใจความถนัดเชาวน์ปัญญาของเด็ก
ด้านสังคม ช่วยให้ครู นักเรียน
เข้าใจตนและผู้อื่น ปรับปรุงพฤติกรรมตนเอง
ปกครองและการแนะแนว ให้ครูเข้าใจเด็กมากขึ้น
อบรมแนะนำ ควบคุมดูแลในเด็กอยู่ในระเบียบ เสริมสร้างบุคลิกภาพ
ปรับตัวได้อย่างเหมาะสม
จิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษาเป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน
ในสภาพการเรียนการสอนหรือในชั้นเรียน เพื่อค้นคิดทฤษฎีและหลักการที่จะนำมาช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
จิตวิทยาการศึกษามีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษา
การสร้างหลักสูตรและการเรียนการสอน โดยคำนึงถึงความแตกต่างของบุคคล นักการศึกษาและครูจำเป็นจะต้องมีความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาการศึกษา เพื่อจะได้เข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้
ตลอดจนแก้ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนการสอนเหมือนกับวิศวกรที่จำเป็นจะต้องมีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยทั่วไปแล้ว เนื้อหาของจิตวิทยาการศึกษาที่เป็นความรู้พื้นฐานสำหรับครูและนักการศึกษาประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1. ความสำคัญของวัตถุประสงค์ของการศึกษาและบทเรียน
นักจิตวิทยาการศึกษาได้เน้นความสำคัญของความแจ่มแจ้งของการระบุวัตถุประสงค์ของการศึกษา
บทเรียน ตลอดจนถึงหน่วยการเรียน เพราะวัตถุประสงค์จะเป็นตัวกำหนดการจัดการเรียนการสอน
2. ทฤษฎีพัฒนาการ
และทฤษฎีบุคลิกภาพ เป็นเรื่องที่นักการศึกษาและครูจะต้องมีความรู้ เพราะ จะช่วยให้เข้าใจเอกลักษณ์ของผู้เรียนในวัยต่างๆ
โดยเฉพาะวัยอนุบาล วัยเด็ก และวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่กำลังศึกษาในโรงเรียน
3. ความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่ม
นอกจากมีความเข้าใจพัฒนาการของเด็กวัยต่างๆ แล้ว นักการศึกษาและครูจะต้องเรียนรู้ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่มทางด้านระดับเชาวน์ปัญญา
ความคิดสร้างสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งนักจิตวิทยาได้คิดวิธีการวิจัยที่จะช่วยชี้ให้เห็นว่าความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นตัวแปรที่สำคัญในการเลือกวิธีสอน
และในการสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม
4. ทฤษฎีการเรียนรู้ นักจิตวิทยาที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้
นอกจากจะสนใจว่าทฤษฎีการเรียนรู้จะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้และจดจำอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไรแล้ว
ยังสนใจองค์ประกอบเกี่ยวกับตัวของ
ผู้เรียน เช่น แรงจูงใจว่ามีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้อย่างไร ความรู้เหล่านี้ก็มีความสำคัญต่อการเรียนการสอน
5. ทฤษฎีการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา
นักจิตวิทยาการศึกษาได้เป็นผู้นำในการบุกเบิกตั้งทฤษฎีการสอน ซึ่งมีความสำคัญและมีประโยชน์เท่าเทียมกับทฤษฎีการเรียนรู้และพัฒนาการในการช่วยนักการศึกษาและครูเกี่ยวกับการเรียนการสอน
สำหรับเทคโนโลยีในการสอนที่จะช่วยครูได้มากก็คือ คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
6. หลักการสอนและวิธีสอน
นักจิตวิทยาการศึกษาได้เสนอหลักการสอนและวิธีการสอน
ตามทฤษฎีทางจิตวิทยาที่แต่ละท่านยึดถือ
เช่น หลักการสอนและวิธีสอนตามทัศนะนักจิตวิทยาพฤติกรรม
นิยม ปัญญานิยม และมนุษย์นิยม
7. หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้จะช่วยให้นักการศึกษา และครูทราบว่า การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพหรือไม่
หรือผู้เรียนได้สัมฤทธิผลตามวัตถุประสงค์เฉพาะของ แต่ละวิชาหรือหน่วยเรียนหรือไม่ เพราะถ้าผู้เรียนมีสัมฤทธิผลสูง
ก็จะเป็นผลสะท้อนว่าโปรแกรมการศึกษามีประสิทธิภาพ
8. การสร้างบรรยากาศของห้องเรียน
เพื่อเอื้อการเรียนรู้และช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน
ความสำคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู
วิชาจิตวิทยาการศึกษาสามารถช่วยครูได้ในเรื่องต่อไปนี้
1. ช่วยครูให้รู้จักลักษณะนิสัย
(Characteristics) ของนักเรียนที่ครูต้องสอน
2. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน
3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล
4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย
5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่าง
ๆ
6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน
7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้
8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีการที่มีประสิทธิภาพ
9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดี
ไม่ได้เป็นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาอย่าเดียว
10. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน
1.
ความหมายของการเรียนรู้
คือ
การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวร
อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการฝึกฝน
2.
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร
2.1
เมื่อมีความจำเป็น
2.2
เมื่อผู้เรียนได้บรรลุจุดประสงค์
2.3
จากการเรียนรู้เก่า หรือประสบการณ์ และนำไปใช้
2.4
เกิดเมื่อคนได้รับความรู้และเข้าใจสิ่งนั้น
2.5
เมื่อได้รับการสอน การแนะนำ
3.
พฤติกรรมการเรียนรู้
3.1
การรับรู้ (Perception) หมายถึงการแปลความหมาย หรือการตีความต่อสิ่งเร้าของอวัยวะรับสัมผัสส่วนใดส่วนหนึ่ง
หรือทั้ง 5 ส่วน ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง
และการตีความนี้มักอาศัยประสบการณ์เดิม
3.2
การหยั่งเห็น (Insight)
หมายถึงการเรียนรู้ด้วยตนเอง หรือ การแก้ปัญหาด้วยตนเอง
โดยจะเกิดแนวความคิดในการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหาขึ้นอย่างฉับพลันทันทีทันใด
เป็นขั้นตอนจนถึงจุดสุดท้ายที่จะแก้ปัญหาได้
4.
องค์ประกอบที่สำคัญซึ่งก่อให้เกิดการเรียนรู้
4.1
ผู้เรียน (อายุ 20 – 25 ปี) 35 ปี ความสามารถจะลดลง
4.2
สิ่งเร้า (Stimulus) หรือสถานการณ์ต่าง ๆ (a
stimulus situation)
4.3 การตอบสนอง (Response)
5. องค์ประกอบของกระบวนการเรียนรู้
5.1
สถานการณ์ (Situation) หมายถึงสิ่งแวดล้อมหรือบรรยากาศรอบตัวผู้เรียน
5.2
ลักษณะประจำตัวของบุคคล (Personal
characteristics) ได้แก่ ระดับเชาว์ปัญญาความถนัด ความสนใจ และความพร้อม
เป็นต้น
5.3 ความมุ่งหมาย (Goal) ผู้เรียนต้องทราบว่าจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้นั้น
คืออะไร
5.4
การแปลความหมาย (Interpretation) เป็นการพยายามใช้ความสามารถของผู้เรียนใหเข้าใจบทเรียน
มีการคิดเป็นเหตุเป็นผลเพื่อแก้ปัญหา
หรือทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นได้
5.5
การกระทำ (Action) หมายถึงการตอบสนองเมื่อแปลความหมายของบทเรียนนั้นแล้ว
5.6
ผลการปฏิบัติ (Consequence)
ได้แก่ ผลที่ได้จากการกระทำ
5.7
ปฏิกิริยาต่อความล้มเหลว (Reaction to – thwarting) เมื่อผู้เรียนประสบความล้มเหลว จะมีปฏิกิริยาออกมา
2 รูปแบบ
5.7.1
ล้มเลิกการเรียนรู้นั้น
5.7.2
ปรับปรุงแก้ไข
6.
ปัจจัยที่สำคัญที่ส่งเสริมการเรียนรู้
จะต้องประกอบไปด้วยปัจจัยที่สำคัญอย่างน้อยที่สุด
3 ประการ คือ
6.1
ระดับความมากน้อยของแรงจูงใจ
6.2
ชนิดของอุปสรรค
6.3
ความสามารถของตัวผู้เรียน
การนำเอาหลักจิตวิทยาและกระบวนการเรียนรู้มาใช้ในการสอน
1.
ด้านการสอน เพื่อให้สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียน
2.
ด้านการเรียน
ช่วยให้ผู้สอนมีการปรับปรุงกิจกรรมต่าง ๆ และวิธีการสอน
3.
ด้านสังคม
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจตนเองและผู้อื่น
ตลอดจนรู้จักปรับปรุงตนเองโดยใช้การวัด
แปลงพฤติกรรม
4.
ด้านการปกครอง และการแนะแนะ ช่วยให้ครูเข้าใจผู้เรียนของตนเองดียิ่งขึ้น สามารอบรม
แนะนำ ควบคุมดูแลผู้เรียนให้อยู่ในระเบียบวินัยอันดีมีการปรับตัวที่เหมาะสม
(เอกสารอุเทศ : 1 A
Manual for Navy
Instructors, Naval Instructional Technology
Development Center , San Diego ,
California , 1980)
ความสำคัญของจิตวิทยา
จิตวิทยามีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตอย่างกว้างขวาง ผู้ศึกษาจิตวิทยาสามารถได้รับประโยชน์ดังต่อไปนี้
1.ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ เช่น ความต้องการ การแก้ปัญหา การปรับตัว อารมณ์และความรู่สึกในสถานการณ์ต่างๆ
2.ช่วยในการแก้ปัญหาทางจิต รู้จักวิธีรักษาสุขภาพจิตได้ดี สามารถเอาชนะปมด้อยต่างๆ รู้วิธีแก้ปัญหาและปรับตัวอย่างเหมาะสม ขจัดความขัดแย้งในใจได้และความวิตกกังวลได้
3.สามารถเข้าใจ ตัดสินใจ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลในสังคม
4.ช่วยในการวางแผนการใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสมประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา
จิตวิทยามีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตอย่างกว้างขวาง ผู้ศึกษาจิตวิทยาสามารถได้รับประโยชน์ดังต่อไปนี้
1.ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ เช่น ความต้องการ การแก้ปัญหา การปรับตัว อารมณ์และความรู่สึกในสถานการณ์ต่างๆ
2.ช่วยในการแก้ปัญหาทางจิต รู้จักวิธีรักษาสุขภาพจิตได้ดี สามารถเอาชนะปมด้อยต่างๆ รู้วิธีแก้ปัญหาและปรับตัวอย่างเหมาะสม ขจัดความขัดแย้งในใจได้และความวิตกกังวลได้
3.สามารถเข้าใจ ตัดสินใจ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลในสังคม
4.ช่วยในการวางแผนการใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสมประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา
จิตวิทยาเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยกรีกและโดรมันโบราณที่พยายามค้นหาความหมายของจิต
ซึ่งในระยะแรกจะคิดถึงหัวใจและสมอง ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งของความคิด ต่อมาในยุคศตวรรษที่
19 การศึกษา จิตวิทยาแยกออกเป็น 2 แนวทาง
คือแนวทางปรัชญาและแนววิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ ผู้นำแนวคิดทางปรัชญา คือจอห์น
ล็อค (John Lock, 1632-1704) เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ
ได้รับฉายาว่าเป็น บิดาแห่ง จิตวิทยาแผนใหม่
ซึ่งให้ความสนใจและศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของการคิดที่มีความสัมพันธ์กับจิต
และความรู้ทั้งหมดของบุคคลเกิดจากการที่ประสาทสัมผัสปะทะกับโลกกายภาพ
เขาเชื่อว่าจิตเปรียบเหมือนกระดาษที่ว่างเปล่า
แต่เมื่อบุคคลมีประสบการณ์ที่ได้รับจากประสาทสัมผัสทำให้เกิดรอยขีดเขียน ดังนั้น
สิ่งแวดล้อมจึงมีอิทธิพลต่อจิตมาก
เขาอธิบายว่าจิตของมนุษย์เกิดจากการสะสมประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้เรียนรู้
และถูกเชื่อมโยงต่อกัน ต่อมาเมื่อวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้ามากขึ้น
การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากขณะที่การอธิบายเรื่องจิตวิญญาณเป็นเรื่องยากไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน
การศึกษาจิตวิทยาจึงถูกนำไปใช้ในการทดลอง การสังเกต การพิจารณาในเวลาต่อมา
บุคคลที่เข้ามาศึกษาจิตวิทยาในเวลาต่อมานอกจาก John Lock แล้ว ดังนี้
Cassman ได้เขียนหนังสือชื่อ Aythropologica อธิบายเกี่ยวกับความรู้เรื่องจิตของมนุษย์ในปี 1590 ทำให้วิชา Psychology เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
Emest Hinrich Weber (1795-1878) ผู้ค้นพบพื้นฐานร่วมระหว่างความรู้สึกทางสรีระกับจิตวิทยาฟิสิกส์ เขาศึกษาเกี่ยวกับสัมผัสและความรู้สึกทางกล้ามเนื้อ ซึ่งถือว่าเป็นการเริ่มต้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยวิธีการหาความแตกต่างของการรับความรู้สึกของผู้ถูกทดลอง
Charles Darwins (1809-1882) ผู้ตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการในปี 1859 เขาเชื่อว่าต้นกำเนิดสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการมาจากสัตว์ชั้นต่ำ ทฤษฎีนี้ทำให้ความเชื่อว่าจิตหรือวิญญาณเป็นต้นกำเนิดชีวิตหายไป และเหตุนี้ทำให้เกิดจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาเปรียบเทียบ (Comparative Psychology) ขึ้น
Sir Francis Galton (1822-1911) ให้ความสนใจในเรื่องพันธุกรรมศาสตร์ ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นเหตุของความแตกต่างระหว่างบุคคล ถือเป็นผู้เริ่มจิตวิทยาการทดลองเป็นคนแรกในประเทศอังกฤษ ส่วนวิธีการศึกษาที่นำมาใช้คือการทำ Case Study รวมทั้งสร้างแบบทดสอบและใช้วิธีการทางสถิติตอย่างง่าย
William James (1832-1920) นักจิตวิทยาและนักสรีระวิทยาชาวเยอรมันเป็นผู้ทำให้วิชาจิตวิทยาแยกออกมาจากวิชาปรัชญาและได้รับการยอมรับว่าจิตวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ที่สมบูรณ์ จึงได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาเชิงวิทยาศาสตร์ หรือบิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง เขาเป็นผู้เริ่มตั้งห้องทดลองขึ้นเป็นครั้งแรกซึ่งได้เปิดห้องปฏิบัติการวิจัยทางจิตวิทยา Leopzig การศึกษาของ Wundt มุ่งค้นคว้าธรรมชาติของจิตสำนึก (Consciousness) ของบุคคล ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับความรู้สึกจากประสาทสัมผัส โดยเน้นที่จักษุสัมผัสและทดลองเกี่ยวกับความใส่ใจ จินตนาการ การคิดหาเหตุผล นับเป็นการเริ่มต้นศึกษาจิตวิทยาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
William James(1842-1901) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับจิตวิทยาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1890 ชื่อว่า Principle of Psychology ซึ่งเป็นตำราที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลาย เขาสนใจศึกษาจิตวิทยาทุกสาขาแล้วนำมาสังเคราะห์เป็นแนวคิดใหม่ ผลงานที่ปรากฏได้แก่ ทฤษฎีอารมณ์ การถ่ายเทการเรียนรู้ และแนวคิดเกี่ยวกับสัญชาติญาณ จิตสำนึกและจิตไร้สำนึก
G.Stanley Hall (1846-1939) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้ตั้งห้องปฏิบัติการตามแบบ Wundt ที่มหาวิทยาลัย John Hopkins เมื่อปี 1883 มุ่งเน้นศึกษาพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น เขาออกวารสารทางจิตวิทยาขึ้นเป็นฉบับแรกชื่อว่า American Johrnal of Psychology ในปี 1887
John B.Watson (1878-1958) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันเป็นอาจารย์สอนเป็นการสะท้อนให้เห็น
จิตของบุคคล เนื่องจากจิตเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นและไม่มีตัวตน ไม่สามารถสังเกตหรือใช่เครื่องมือวัดได้ ดังนั้น เมื่อต้องการศึกษาเรื่องจิตก็ควรศึกษาเรื่องของพฤติกรรม ด้วยเหตุนี้เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งจิตวิทยายุคใหม่
จุดมุ่งหมายของจิตวิทยาการศึกษา
จุดมุ่งหมายทั่วไปของการเรียนจิตวิทยาการศึกษา คือ เพื่อให้เข้าใจ (Understanding) เพื่อการทำนาย (Prediction) และเพื่อควบคุม (Control) พฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์ในสถานการณ์ต่างๆ กู๊ดวินและคลอส ไมเออร์(Goodwill & Cross Mier,1975) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายที่สำคัญของการเรียนจิตวิทยา ไว้ดังนี้
1.เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ที่เป็นระบบทั้งด้านทฤษฎี หลักการและสาระอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ทั้งเด็กและผู้ใหญ่
2.เป็นการนำความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ และตัวผู้เรียนให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษานำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
3.เพื่อให้ครูสอนสามารถนำเทคนิคและวิธีการการเรียนรู้ไปใช้ในการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน ตลอดจนสามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ประโยชน์ของจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษามีประโยชน์สำหรับบุคคลทุกวัยไม่เฉพาะครูผู้สอน เช่น ผู้บริหารการศึกษา นักแนะแนว ศึกษานิเทศก์ หัวหน้าหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งบิดา มารดา ผู้ปกครอง ในด้านต่างๆ ต่อไปนี้
1.ช่วยให้ครูเข้าใจธรรมชาติ ความเจริญเติบโตของเด็กและสามารถนำความรู้ที่ได้มาจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ความต้องการ ความสนใจของเด็กแต่ละวัย
2.ช่วยให้ครูสามารถเตรียมบทเรียน วิธีสอน จัดกิจกรรม ตลอดจนใช้วิธีการวัดและประเมินผลการศึกษาได้สอดคล้องกับวัย ซึ่งเป็นการช่วยให้จัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
3.ช่วยให้ครูสามารถจัดกิจกรรมได้อย่างสนุกสนานด้วยบรรยากาศของความเข้าใจ การให้ความร่วมมือ และให้การยอมรับซึ่งกันและกัน
4.ช่วยสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู ผู้ปกครองและเด็ก ทำให้ปกครองเด็กง่ายขึ้นและสามารถทำงานกับเด็กได้อย่างราบรื่น
5.ช่วยให้ครูป้องกันและหาทางแก้ไข ตลอดจนพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กได้อย่างเหมาะสม
6.ช่วยให้ผู้บริหารการศึกษาวางแนวทางการศึกษา จัดหลักสูตร อุปกรณ์การสอนและการบริหารงานได้เหมาะสม
7.ช่วยให้ผู้เรียนเข้ากับสังคมได้ดี ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี
ความหมายของการสอน
การสอน เป็นงานหลักของครู ซึ่งปัจจุบันถือว่าครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง ที่บุคคลในวิชาชีพนี้ ต้องได้รับการศึกษาอบรมมาโดยเฉพาะเพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าที่ สามารถเลือกศึกษา อบรมมาโดยเฉพาะ เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าที่ สามารถเลือกวิธีปฏิบัติงานที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติ ดังที่ระบุไว้ในจุดประสงค์การสอน ครูต้องมีการฝึกฝนด้านการสอนอยู่เสมอเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการทำงานเช่นเดียวกับวิชาชีพชั้นสูงอื่นๆ และต้องมีมาตรฐานของวิชาชีพ การที่ครูสามารถปฏิบัติงานการสอนได้ดีขึ้นอยู่กับความสามารถในการผสมผสานศาสตร์ว่าด้วยการสอนกับศิลปะของการสอนเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดประสิทธิผลของการสอนสูงสุด
Cassman ได้เขียนหนังสือชื่อ Aythropologica อธิบายเกี่ยวกับความรู้เรื่องจิตของมนุษย์ในปี 1590 ทำให้วิชา Psychology เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
Emest Hinrich Weber (1795-1878) ผู้ค้นพบพื้นฐานร่วมระหว่างความรู้สึกทางสรีระกับจิตวิทยาฟิสิกส์ เขาศึกษาเกี่ยวกับสัมผัสและความรู้สึกทางกล้ามเนื้อ ซึ่งถือว่าเป็นการเริ่มต้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยวิธีการหาความแตกต่างของการรับความรู้สึกของผู้ถูกทดลอง
Charles Darwins (1809-1882) ผู้ตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการในปี 1859 เขาเชื่อว่าต้นกำเนิดสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการมาจากสัตว์ชั้นต่ำ ทฤษฎีนี้ทำให้ความเชื่อว่าจิตหรือวิญญาณเป็นต้นกำเนิดชีวิตหายไป และเหตุนี้ทำให้เกิดจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาเปรียบเทียบ (Comparative Psychology) ขึ้น
Sir Francis Galton (1822-1911) ให้ความสนใจในเรื่องพันธุกรรมศาสตร์ ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นเหตุของความแตกต่างระหว่างบุคคล ถือเป็นผู้เริ่มจิตวิทยาการทดลองเป็นคนแรกในประเทศอังกฤษ ส่วนวิธีการศึกษาที่นำมาใช้คือการทำ Case Study รวมทั้งสร้างแบบทดสอบและใช้วิธีการทางสถิติตอย่างง่าย
William James (1832-1920) นักจิตวิทยาและนักสรีระวิทยาชาวเยอรมันเป็นผู้ทำให้วิชาจิตวิทยาแยกออกมาจากวิชาปรัชญาและได้รับการยอมรับว่าจิตวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ที่สมบูรณ์ จึงได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาเชิงวิทยาศาสตร์ หรือบิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง เขาเป็นผู้เริ่มตั้งห้องทดลองขึ้นเป็นครั้งแรกซึ่งได้เปิดห้องปฏิบัติการวิจัยทางจิตวิทยา Leopzig การศึกษาของ Wundt มุ่งค้นคว้าธรรมชาติของจิตสำนึก (Consciousness) ของบุคคล ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับความรู้สึกจากประสาทสัมผัส โดยเน้นที่จักษุสัมผัสและทดลองเกี่ยวกับความใส่ใจ จินตนาการ การคิดหาเหตุผล นับเป็นการเริ่มต้นศึกษาจิตวิทยาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
William James(1842-1901) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับจิตวิทยาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1890 ชื่อว่า Principle of Psychology ซึ่งเป็นตำราที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลาย เขาสนใจศึกษาจิตวิทยาทุกสาขาแล้วนำมาสังเคราะห์เป็นแนวคิดใหม่ ผลงานที่ปรากฏได้แก่ ทฤษฎีอารมณ์ การถ่ายเทการเรียนรู้ และแนวคิดเกี่ยวกับสัญชาติญาณ จิตสำนึกและจิตไร้สำนึก
G.Stanley Hall (1846-1939) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้ตั้งห้องปฏิบัติการตามแบบ Wundt ที่มหาวิทยาลัย John Hopkins เมื่อปี 1883 มุ่งเน้นศึกษาพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น เขาออกวารสารทางจิตวิทยาขึ้นเป็นฉบับแรกชื่อว่า American Johrnal of Psychology ในปี 1887
John B.Watson (1878-1958) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันเป็นอาจารย์สอนเป็นการสะท้อนให้เห็น
จิตของบุคคล เนื่องจากจิตเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นและไม่มีตัวตน ไม่สามารถสังเกตหรือใช่เครื่องมือวัดได้ ดังนั้น เมื่อต้องการศึกษาเรื่องจิตก็ควรศึกษาเรื่องของพฤติกรรม ด้วยเหตุนี้เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งจิตวิทยายุคใหม่
จุดมุ่งหมายของจิตวิทยาการศึกษา
จุดมุ่งหมายทั่วไปของการเรียนจิตวิทยาการศึกษา คือ เพื่อให้เข้าใจ (Understanding) เพื่อการทำนาย (Prediction) และเพื่อควบคุม (Control) พฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์ในสถานการณ์ต่างๆ กู๊ดวินและคลอส ไมเออร์(Goodwill & Cross Mier,1975) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายที่สำคัญของการเรียนจิตวิทยา ไว้ดังนี้
1.เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ที่เป็นระบบทั้งด้านทฤษฎี หลักการและสาระอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ทั้งเด็กและผู้ใหญ่
2.เป็นการนำความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ และตัวผู้เรียนให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษานำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
3.เพื่อให้ครูสอนสามารถนำเทคนิคและวิธีการการเรียนรู้ไปใช้ในการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน ตลอดจนสามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ประโยชน์ของจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษามีประโยชน์สำหรับบุคคลทุกวัยไม่เฉพาะครูผู้สอน เช่น ผู้บริหารการศึกษา นักแนะแนว ศึกษานิเทศก์ หัวหน้าหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งบิดา มารดา ผู้ปกครอง ในด้านต่างๆ ต่อไปนี้
1.ช่วยให้ครูเข้าใจธรรมชาติ ความเจริญเติบโตของเด็กและสามารถนำความรู้ที่ได้มาจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ความต้องการ ความสนใจของเด็กแต่ละวัย
2.ช่วยให้ครูสามารถเตรียมบทเรียน วิธีสอน จัดกิจกรรม ตลอดจนใช้วิธีการวัดและประเมินผลการศึกษาได้สอดคล้องกับวัย ซึ่งเป็นการช่วยให้จัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
3.ช่วยให้ครูสามารถจัดกิจกรรมได้อย่างสนุกสนานด้วยบรรยากาศของความเข้าใจ การให้ความร่วมมือ และให้การยอมรับซึ่งกันและกัน
4.ช่วยสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู ผู้ปกครองและเด็ก ทำให้ปกครองเด็กง่ายขึ้นและสามารถทำงานกับเด็กได้อย่างราบรื่น
5.ช่วยให้ครูป้องกันและหาทางแก้ไข ตลอดจนพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กได้อย่างเหมาะสม
6.ช่วยให้ผู้บริหารการศึกษาวางแนวทางการศึกษา จัดหลักสูตร อุปกรณ์การสอนและการบริหารงานได้เหมาะสม
7.ช่วยให้ผู้เรียนเข้ากับสังคมได้ดี ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี
ความหมายของการสอน
การสอน เป็นงานหลักของครู ซึ่งปัจจุบันถือว่าครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง ที่บุคคลในวิชาชีพนี้ ต้องได้รับการศึกษาอบรมมาโดยเฉพาะเพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าที่ สามารถเลือกศึกษา อบรมมาโดยเฉพาะ เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าที่ สามารถเลือกวิธีปฏิบัติงานที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติ ดังที่ระบุไว้ในจุดประสงค์การสอน ครูต้องมีการฝึกฝนด้านการสอนอยู่เสมอเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการทำงานเช่นเดียวกับวิชาชีพชั้นสูงอื่นๆ และต้องมีมาตรฐานของวิชาชีพ การที่ครูสามารถปฏิบัติงานการสอนได้ดีขึ้นอยู่กับความสามารถในการผสมผสานศาสตร์ว่าด้วยการสอนกับศิลปะของการสอนเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดประสิทธิผลของการสอนสูงสุด
จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสื่อการเรียนการสอน
จิตวิทยาการรับรู้
การรับรู้ หมายถึง การรู้สึกสัมผัสที่ได้รับการตีความให้เกิดความหมายแล้ว เช่นในขณะนี้ เราอยู่ในภาวะการรู้สึก(Conscious) คือลืมตาตื่นอยู่ ในทันใดนั้น เรารู้สึกได้ยินเสียงดังปังมาแต่ไกล(การรู้สึกสัมผัส-Sensation) แต่เราไม่รู้ความหมายคือไม่รู้ว่าเป็นเสียงอะไร เราจึงยังไม่เกิดการรับรู้ แต่ครู่ต่อมามีคนบอกว่าเป็นเสียงระเบิดของยางรถยนต์ เราจึงเกิดการรู้ความหมายของการรู้สึกสัมผัสนั้น ดังนี้เรียกว่าเราเกิดการรับรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้(Psychology of learning) เป็นการศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ธรรมชาติของการเรียนรู้ การคิด การแก้ปัญหา การจำ การลืม รวมถึงปัญหา
จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) เป็นการค้นคว้าถึงการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนถึงวัยชรารวมทั้งอิทธิพลของพันธุกรรมและ
การรับรู้ หมายถึง การรู้สึกสัมผัสที่ได้รับการตีความให้เกิดความหมายแล้ว เช่นในขณะนี้ เราอยู่ในภาวะการรู้สึก(Conscious) คือลืมตาตื่นอยู่ ในทันใดนั้น เรารู้สึกได้ยินเสียงดังปังมาแต่ไกล(การรู้สึกสัมผัส-Sensation) แต่เราไม่รู้ความหมายคือไม่รู้ว่าเป็นเสียงอะไร เราจึงยังไม่เกิดการรับรู้ แต่ครู่ต่อมามีคนบอกว่าเป็นเสียงระเบิดของยางรถยนต์ เราจึงเกิดการรู้ความหมายของการรู้สึกสัมผัสนั้น ดังนี้เรียกว่าเราเกิดการรับรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้(Psychology of learning) เป็นการศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ธรรมชาติของการเรียนรู้ การคิด การแก้ปัญหา การจำ การลืม รวมถึงปัญหา
จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) เป็นการค้นคว้าถึงการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนถึงวัยชรารวมทั้งอิทธิพลของพันธุกรรมและ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น